KM Day 2021
เทคนิคการสอนด้วยการใช้เทคโนโลยีให้นักศึกษามีความรู้เชิงสร้างสรรค์ ในการปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์
วิทยาลัยการท่องเที่ยวและการบริการ
ผู้เล่าเรื่อง: อาจารย์สุพรรษา เทียมประสิทธิ์ผู้บันทึก: อาจารย์สุพรรษา เทียมประสิทธิ์
บทบาท หน้าที่และความรับผิดชอบของผู้เล่าเรื่อง
อาจารย์ประจาหลักสูตรการจัดการการท่องเที่ยวและการบริการ
ผู้อานวยการหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและการบริการ มหาวิทยาลัยรังสิต
ความเป็นมาของเรื่องที่เล่า
จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของ COVID-19 (โควิด-19) ทาให้ผู้คนเกิดความวิตกกังวลไปทั่วโลก มีการปิดเมือง ปิดประเทศ เพื่อป้องกันการแพร่กระจายของโรค สนามบินเงียบเหงา สถานที่ท่องเที่ยวแทบร้างผู้คน หลายธุรกิจได้รับผลกระทบทั้งทางตรงและทางอ้อม จนต้องลดพนักงาน เลิกจ้าง หรือปิดตัวเองลง ผู้คนไม่จาเป็นก็ไม่ออกนอกบ้าน ไม่กล้าอยู่ในที่คนพลุกพล่าน และคอยติดตามข่าวสารเพื่ออัพเดทการแพร่ระบาดของไวรัส ซึ่งข้อมูลที่ได้รับนั้นก็มีทั้งจริงและปลอมปะปนกัน หรือบางข้อมูลที่เราเคยยึดถือเป็นแนวทางในการป้องกันการติดเชื้อ ก็อาจต้องปรับเปลี่ยนให้เข้ากับสถานการณ์ขึ้น เช่น การเว้นระยะหายกัน การใช้เทคโนโลยีในการสื่อสารกันมากขึ้น การใช้ช้อนกลางตักอาหารก็มีโอกาสเสี่ยงติดเชื้อจากการสัมผัสช้อนร่วมกันได้ และหมั่นล้างมือให้สะอาดอยู่เสมอ
จึงถึงเวลาที่อาจารย์ต้องปรับวิธีการเรียนการสอนใหม่ โดยการนาเทคโนโลยีเข้ามาใช้ในการเรียนการสอน ให้สอดคล้องกับกลุ่มของนักศึกษาในยุค (New Normal) โดยมุ่งเน้นการสอนโดยการนาเทคโนโลยีมรใช้ในการสอน เพื่อเพิ่มประสิทธฺภาพในการสอน โดยเน้นให้นักศึกษาเป็นศูนย์กลาง ตลอดจนนาลักษณะนิสัยเฉพาะกลุ่มของนักศึกษา ใช้ให้เกิดประโยชน์กับบางรายวิชาในสาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและการบริการ ที่สามารถนาไปพัฒนาเป็นความรู้เชิงสร้างสรรค์ สาหรับนักศึกษาได้ เพื่อเปลี่ยนทัศนคติของนักศึกษาที่มีความรู้สึกว่ายากในการเรียนรู้เรื่องเทคโนโลยี ให้มีความสนุก รู้จักคิด รู้จักทา ได้สร้างสรรค์ความรู้ของตนเองได้อย่างเต็มที่ ในโลกของการเรียนรู้จริง ที่มีความรับผิดชอบจากการได้ปฏิบัติจริง เกิดความเหมาะสมในการแสดงความคิด และได้ใช้ความสามารถของตนเองโดยคานึงถึงความต้องการของผู้อื่น อาจารย์เป็นผู้คอยชี้แนะหลักการ ในการสร้างภาพของการเรียนการสอนในการใช้เทคโนโลยีให้เกิดภาพที่ชัดเจน และคอยให้คาแนะนาขั้นตอนการใช้เทคโนโลยีให้กับนักศึกษา เพื่อให้เข้าใจในการเรียนการสอนมากยิ่งขึ้น
ความรู้เดิม
ขั้นตอนแรก อธิบายเครื่องมือเทคโนโลยีในการสอน พร้อมทั้งทดสอบความรู้เดิม
ขั้นตอนที่สอง อธิบายการสอนโดยใช้เทคโนโลยีด้วยโปรแกรม SPSS เป็นโปรแกรมสาเร็จรูปที่ใช้สาหรับการวิเคราะห์หาข้อมูลทางสถิติ และสัญญาลักษณ์ตัวแปรต่างๆ ดังนี้
1. ‘Name*’ คือ ชื่อของตัวแปรหรือสัญลักษณแทนตัวแปรนั้น ๆ ความยาวไมเกิน 7-10 ตัวอักษร (ขึ้นอยูกับ
version) โดยชื่อนี้จะไปปรากฎเปนชื่อ column ในหนาตาง Data View เชน ID SEX AGE EDU SAT
2. ‘Type*’ คือ ชนิดของตัวแปร ที่สาคัญ คือ Numeric เปน ขอมูลที่เปนตัวเลข ,String เปน ขอมูลที่เปน
ตัวอักษร
3. ‘Values*’ คือเปนการกาหนดคาใหกับตัวแปร เชน ตัวแปร ‘เพศ’ กาหนดให ‘เพศชาย’ มีคาเทากับ 1 และ ‘เพศหญิง’ มีคาเทากับ 2 เปนตน โดย คาของตัวแปร เชน 1 นั้นจะใสในชอง Value สวนชื่อของคาตัวแปรนั้น เชน เพศชาย จะใสในชอง Value Label
4. ‘Missing’ คือ คาของขอมูลที่แสดงวาผูตอบแบบสอบถามไมไดตอบในขอคาถามขอนั้น เชน ตัวแปร ‘เพศ’
กาหนดคา missing = ‘9’ นั่นคือ ถามีผูที่ไมระบุเพศในแบบสอบถาม จะ key ขอมูลเปน ‘9’ โดยทั่วไปจะกาหนดคา missing ใหไมซ้ากับคาของตัวแปร ‘Values’
5. ‘Column’ เปนการกาหนดความกวางของ Column ซึ่งสวนใหญจะกาหนดใหกวางกวาความกวางของตัวแปร
ขั้นตอนที่สาม การประเมินผลการเรียนเพื่อสร้างเป้าหมายที่ชัดเจนของนักศึกษาและควบคุมการเรียนให้เป็นไปตามระเบียบในรายวิชา
ผลลัพธ์หรือความสำเร็จที่เกิดขึ้น และความรู้ใหม่ที่ผู้เล่าเรื่องที่ได้เรียนรู้จากประสบการณ์ดังกล่าว
-