KM Day 2021

L.E. : นวัตกรรมเพื่อการเรียนรู้

คณะวิทยาศาสตร์
ชื่อเรื่อง/กระบวนการดำเนินงานที่นำมาจัดการความรู้

L.E. : นวัตกรรมเพื่อการเรียนรู้

ของคณะวิชา: คณะวิทยาศาสตร์

2. ข้อมูลความรู้ชัดแจ้งเดิม ที่นำมาปรับปรุง/ประยุกต์ใช้ในกระบวนการดำเนินงาน
2.1 ชื่อความรู้

L.E. : นวัตกรรมเพื่อการเรียนรู้

2.2 ชื่อเจ้าของความรู้/สังกัด

ผศ.ดร.ลาวัณย์  วิจารณ์  ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์

2.3 ที่มาของความรู้
เป็นนวัตกรรมที่สร้างขึ้นเอง
3. รายงานการประยุกต์ความรู้ไปใช้ในกระบวนการดำเนินงาน
3.1 วิธีดำเนินงาน/กิจกรรม

นำประสบการณ์จากการสร้างนวัตกรรม “L.E. นวัตกรรมเพื่อการเรียนรู้” ที่ใช้กับวิทยาการด้านสิ่งแวดล้อมศึกษาชมชน มีลักษณะเป็นการศึกษานอกระบบ ที่ทาติดต่อมาไม่น้อยกว่า 5 ปี ไม่น้อยกว่า 25 โครงการในชุมชน จ.ปทุมธานี มาพัฒนาต่อยอดเป็นนวัตกรรมด้านต่างๆ ได้แก่
1) การนำ “นวัตกรรม L.E.เพื่อการเรียนรู้” ที่ใช้กับการจัดการเรียนการสอนนอกระบบ มาประยุกต์ใช้กับการเรียนการสอนในระบบให้กับสถาบันการอาชีวศึกษาเกษตร ที่เน้นหลักสูตรฐานสมรรถนะ (competency- based curriculum)
2) การนำ “นวัตกรรม L.E.เพื่อการเรียนรู้” ใช้เพื่อออกแบบหลักสูตรอาชีวศึกษาเกษตรในระบบ ปวส และระดับปริญญาตรี(ด้านเทคโนโลยี)
3) การนำ “นวัตกรรม L.E. เพื่อการเรียนรู้” พัฒนาต่อยอดเป็น “นวัตกรรมการวางโครงการ” ใช้กับชุมชนโดยรอบมหาวิทยาลัย

3.2 ผลการดำเนินงาน/การประเมินผล

ผลจากการนา “นวัตกรรม L.E.เพื่อการเรียนรู้” ใช้ต่อยอดเพื่อสร้างนวัตกรรมด้านอื่นๆ และขยายผลสู่สังคมภายนอกมหาวิทยาลัยรังสิต ได้แก่ การขยายผลสู่สถาบันการอาชีวศึกษาเกษตรภาคใต้ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งพบว่า นอกจากจะสามารถพัฒนาบุคลากรด้าน L.E. ให้กับทั้ง 2 สถาบันได้ตามวัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้แล้ว ยังพบอีกว่า นวัตกรรมดังกล่าว ยังได้รับการยอมรับ โดยสถาบันการอาชีวศึกษาเกษตรภาคใต้ ได้รับการสนับสนุนทุนจากสานักคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ เพื่อขยายผลนวัตกรรม ดังกล่าว สู่หน่วยสถาบันการอาชีวศึกษาเกษตรทั้ง 4 ภาค และรวมไปถึงการขยายผลไปยัง สถาบันการอุดมศึกษาและโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ ได้แก่ มหาวิทยาลัยปทุมวันมหาวิทยาลัยราชมงคลศรีวิชัย และศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการกาจัดขยะและบาบัดน้าเสียตามแนวพระราชดาริ ภาคใต้ ตามลาดับ
นอกจากนั้นผลจากการพัฒนานวัตกรรม และขยายผลนวัตกรรมอย่างต่อเนื่อง ทั้งในชุมชน สถาบันการศึกษาทาให้ได้รับประสบการณที่หลา

3.3 รายงานความรู้/แนวปฏิบัติที่เกิดขึ้นใหม่ (new explicit knowledge) จากการประยุกต์ใช้ความรู้เดิมในกระบวนการดำเนินงาน

จากการพัฒนาและต่อยอด “ L.E. นวัตกรรมเพื่อการเรียนรู้” ในการศึกษานอกระบบ ไปสู่การศึกษาในระบบ การพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะ และพัฒนาไปสู่ “นวัตกรรมการวางโครงการ” ซึ่งในแต่ละนวัตกรรมได้พิสูจน์ทดสอบโดยการทาวิจัย R&D มาอย่างต่อเนื่อง ซึ่งพบว่า ทุกโครงการล้วนบรรลุตามวัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้ จึงสรุปได้ว่า L.E.เป็นเครื่องมือที่สามารถนามาประยุกต์ใช้ในการพัฒนา “นวัตกรรมต่างๆ ที่ผู้พัฒนานวัตกรรม มุ่งให้เกิดการเรียนรู้